WELCOME TO BLOG นางสาวฉัตฑริกา สุขกระโทก

วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ


 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
      -  รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
      -  พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
      -  การประยุกต์ใข้่เทคโนดฯลีสารสนเทศกับการเรียนการสอน

รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
    เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ คือ

1. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ , กล้องดิจิตอล , กล้องถ่ายภาพวีดีทัศน์, เครื่องเอ็กซ์เรย์

       2. เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลเป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น เทผแม่เหล็ก,จานแม่เหล็ก,จานแสงหรือแสงเลเซอร์,บัตรเอทีเอ็ม
       3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์
4. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพื,จอภาพ,พลอตเตอร์ ฯลฯ
5. ทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร,เครื่องถ่าย
6. เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูลได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่น โทรทัศน์,วิทยุกระจายเสียง,โทรเลข,เทเล็กซ์,และระบบเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และระยะไกล

ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
มีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในทางธุรกิจและทางการศึกษา ดังตัวอย่าง เช่น
- ระบบเอทีเอ็ม
- การบริการและการทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต
- การลงทะเบียนเรียน



พฤติกรรมการใช้่เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
การแสดงออกทางความคิดและความรู้สุกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภท ที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ภาพ,ข้อความ หรือตัวอักษร ตัวเลขและภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น


การใช้อินเทอร์เน็ต
งานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาพบว่า
นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง เนื่องจากเห็นว่ามีความสะดวก ในการติดต่อสือสารกับผู้อื่น ในขณะที่การใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่ใช้เพื่อการเรียนรู้ การติดตามข่าวสาร ของสถานศึกษา



ใช้อินเทอร์เน็ต ทำอะไรได้บ้าง?
งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษาใช้อินเทอร์เน็ต ในการสนทนา กับเพื่อนๆ และการค้น


พฤติกรรมการใช้่เทคโนโลยีสารสนเทศ
 นอกจากนี้งานวิจัยยังชี้ว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบส่วนต่างๆ เพื่อจะเพิ่มพูนความรู้ และประกอบการทำราายงาน



สถานที่ที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
งานวิจัยพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ ใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้าน และมีการใช้อินเทอร์เน็ตที่ห้องสมุดของสถาบัน


นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการใช้หรือมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้อย ในรูปแบบไหนบ้าง?

งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านี้น้อย ได้แก่ ฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้แบบออนไลน์หรือ E-Learning วิดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video onDemand) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน


การประยุกต์ใช้เทคโนโลียสารสนเทศกับการเรียนการสอน
- การเรีียนรู้แบบออนไลน์ (e-Learning)
- บทเรียนคอมิวเตอร์ข่วยสอน Computer Assisted Instruction - CAI) หรือ (computer Aided In
- วิสัยทัศน์ตามอัธยาศัย (Vidoed on Demand - VDO)
- หนังสืออิเล็กทรอกนิกส์ (e-Books)
- ห้องสมุดอิเดล็กทรอกนิกส์ (e-Learning)

การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-Learning)

ป็นการศีกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ( Internet ) หรือ อินทราเน็ต tranet ) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเองตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดืโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรืยนผ่านเว็บบราวเซอร์ ( Web Browser ) โดยผู้เรียนผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อปรึกษา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติโดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารมี่ทันสมัยสำหรับทุกคน โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ ( Learning for all : anyone , anywhere and anytime )


บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted Intruction - CAI ) 
      คือบทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ่นำเสนอสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและพิจรณามาเป็นอย่างดี โดยมีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ แบบฝึกหัด การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับให้ผู้เรียนได้ตอบสนองต่อบทเรียนได้ตามระดับความสามารถของตนเอง เนื้อหาวิชาที่นำเสนอจะอยู่ในรูปมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย อักษร รูปภาพ เสียง หรือ ทั้งภาพทั้งเสียง ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการนำหลักการเบื้องต้นทางจิตวิทยาการเรียนรู้มาใช้ในการออกแบบโดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้(Learning Behavior) ทฤษฎี การเสริมแรง (Reinforcemment Theory) ทฤษฎีการวางเงือนไขปฎิบัติ (Operant Conditioning Theory) ซึ่งถือว่า
ความสัมพันธืระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองแลบะการเสริมแรงเป็นสิ่งสำคัญ โดยมีจุดมุ่งหมายนำผู้เรียน 
ไปสู่การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาศัยการเรียนที่มีการวางโปรแกรมไว้ล่วงหน้า เป็นการให้ผู้เรียนมี
โอกาสเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และมีผลย้อนกลับทันที และเรียนรู้ไปทีละขั้นตอนอย่างเหม่าะสมตามความ
ต้องการและความสามารถของตนเอง

วิสัยทัศน์ตามอัธยาศัย (Vidoed on Demand - VDO)

คือ ระบบการเรียนดูภาพยนต์ตามสิ่งที่จะอำนวยความสะอาดให้ผู้ใช้งานสามารถเลือก ดูภาพยนตร์หรือข้อมูลภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงได้ตามต้องการ ตามสโลแกนที่ว่า “To view what one wants, when one wants” โดยสามารถใช้งานนี้ได้จากเครือข่ายสื่อสาร (Telecommunications Networds) ผู้ใช้งาน ซึ่งอยู่หน้าเครื่องลูกข่าย (Video Client) สามารถเรียกดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ทุกเมื่อตามต้องการและสามารถควบคุมข้อมูบวิดีโอนั้นๆ โดยสามารถย้อนกลับ (Rewind)หรือกรอไปข้างหน้า (Forward) หรือหยุดชั่วคราว (pause)ได้เปรียบเสมือนการดูวิดีโอที่บ้านนั่นเองทั่งนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายไม่จำเป็นต้องดูข้อมูลเดียวกันกล่าวคือสามารถดูภาพยนตร์เรื่องเดียวกันหรือต่างกันก็ได้

หนังสืออิเล็กทรอกนิกส์ (e-Books) คือ หนังสืออิเล็กทรอกนิกส์ที่สามารถอ่านได้ทางอินเทอร์เน็ต โดยมีเครื่องมือที่จำเป็นการอ่านหนังสือประเภทนี้คือ ฮาร์แวร์ ประเภทเครื่องมือคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอกนิกส์พกพาอืนๆ พร้อมทั้งติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือซอตฟต์แวร์ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ ตัวอย่างเช่น ออร์แกนไนเซอร์แบบพกพา พีดีเอ เป็นต้น ส่วนการดึงข้อมููล e-Books ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่านก็จะใช้วิธัีกหารดาวน์โหลดผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะ ไฟล์ของ e-Books หากนักเขียนหรือสำนักงานพิมพ์ต้องการสร้าง e-Books จะสามารถเลือกได้ 4 แบบ Hyyper Text Markup Language (HTML) , portable Document Format (PDF) ,Peanut Markup Language (PML) และ Extensive Markup Language(XML)


ห้องสมุดอิเล็กทรอกนิกส์ (e-Learning)
เป็นอหล่งความรู้ทึี่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่าน เครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต

คุณลักษณะทึี่สำคัญของห้องสมุดอิเล็กทรอกนิกส์มีดังนี้ คือ
1. การจัดการทรัพยกรสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์
2. ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยทางอิเล็กทรอนิกส์
3. บรรณารักษ์หรือบุคคลากรของห้องสมุดและสามารถแทรกการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับห้องสมุดได้เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ได้ โดยทางอิเล็กทรอนิดส์
4. ความสามารถในการจัดเก็บ รวบรวมและนำส่งสารสนเทศ สู่ผู้ใช้โดยทางอิเล็กทรอนิกส์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น